สำนวนโวหำรในกำรเขียน
โวหารในการเขียน
โวหาร หมายถึง วิธีการเขียนเรียบเรียงข้อความให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง โวหารที่ใช้ในการเขียนเรียงความ ได้แก่ พรรณนาโวหาร บรรยายโวหาร อุปมาโวหาร เทศนาโวหาร เทศนา โวหาร สาธกโวหารและอธิบายโวหาร
1. พรรณนาโวหาร หมายถึง การเรียบเรียงข้อความโดยให้รายละเอียดเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของ ธรรมชาติ สภาพแวดล้อม ตลอดจนความรู้สึกต่างๆของผู้เขียน โดยเน้นให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึกร่วมกับผู้เขียน
หลักการเขียนพรรณนาโวหาร
1. ใช้ถ้อยคำที่เลือกสรรแล้ว เพื่อสื่อควำมหมำยและอำรมณ์ควำมรู้สึกที่ชัดเจน
2. เขียนใจควำมควรเน้นให้เกิดภำพพจน์ เกิดอำรมณ์ควำมรู้สึกร่วมไปกับผู้เขียน
3. ใช้ภำพพจน์หรืออุปมำโวหำร เพื่อให้ได้อำรมณ์ควำมรู้สึกหรือเกิดจินตนำกำร
คล้อยตำม
ตัวอย่างพรรณนาโวหาร
“ถ้ำหำกว่ำ เหงื่อและน ้ำตำ ตลอดจนชีวิตของมนุษย์ที่ถูกเกณฑ์เอำมำสร้ำง นครวัดนี้
สำมำรถตักตวงเอำไว้ได้ เหงื่อ น ้ำตำ และชีวิตนั้นก็คงจะท่วมท้นคูที่ล้อมรอบนครวัดนี้อยู่ เสียง
ลมที่พัดเข้ำมำทำงช่องทวำรศิลำ และแล่นไปตำมระเบียงมืดดังเหมือนเสียงสะท้อนของเสียง
โหยหวนด้วยควำมเจ็บปวดเมื่อพันปีมำแล้ว เสียงค้ำงคำวกระพือปีก และเสียงค้ำงคำวร้องฟังดู
เหมือนเสียงคนกระซิบกระซำบปรับทุกข์กันด้วยควำมเหนื่อยอ่อนและเมื่อยล้ำ”
(ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปรำโมช : ถกเขมร)
2. บรรยายโวหาร หมายถึง การเขียนอธิบายหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เป็นข้อเท็จจริงตามลาดับเหตุการณ์ เป็นการเขียนตรงไปตรงมา ไม่เยิ่นเย้อ มุ่งความชัดเจน เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความรู้ ความเข้าใจ เช่น การเขียนเล่าเรื่อง เล่าเหตุการณ์ การเขียน รายงาน เขียนตำราและเขียนบทความ
หลักการเขียนบรรยายโวหาร
1. เขียนเฉพำะสำระสำคัญ ไม่เยิ่นเย้อ ไม่เขียนหลุดจำกสำระสำคัญที่ตั้งประเด็นไว้
2. เขียนเรื่องจริง โดยผู้เขียนจะต้องมีควำมรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เขียนเป็นอย่ำงดี แสดง
ข้อเท็จจริงอย่ำงถูกต้องหรือใกล้เคียงกับควำมเป็นจริงมำกที่สุด
3. ใช้ภำษำที่เข้ำใจง่ำย ใช้คำน้อยแต่กินควำมมำก และเร้ำควำมสนใจของผู้อ่ำนให้
ติดตำมอ่ำนตั้งแต่ต้นจนจบ
4. เรียบเรียงคำมคิดให้เป็นระเบียบต่อเนื่องและมีควำมสัมพันธ์กัน นำเสนออย่ำง
ตรงไปตรงมำ
ตัวอย่างบรรยายโวหาร
“ช้ำงยกขำหน้ำให้ควำนเหยียบขึ้นนั่งบนคอ ตัวมันสูงใหญ่ ใบหูไหวพะเยิบ หญิงบน
เรือนลงบันไดมำข้ำงล่ำง เธอชูแขนยืนผ้ำขำวม้ำและข้ำวห่อใบตองขึ้นไปให้เขำ”
(นิคม รำยวำ : ตลิ่งสูงซุงหนัก)
3. อุปมาโวหาร หมายถึงการเขียนเป็นส านวนเปรียบเทียบที่มีความคล้ายคลึงกัน เพื่อทำให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจลึกซึ้งยิ่งขึ้น โดยการเปรียบเทียบสิ่งของที่เหมือนกัน เปรียบเทียบโดยโยงความคิดไปสู่อีกสิ่งหนึ่ง หรือเปรียบเทียบข้อความตรงกันข้ามหรือข้อความที่ขัดแย้งกัน
หลักการเขียนอุปมาโวหาร
1. เรื่องที่นำมำเปรียบเทียบต้องสัมพันธ์กับเนื้อหำ และเป็นสิ่งที่เข้ำใจง่ำยกว่ำเนื้อหำ
เขียนให้สอดคล้องเพื่อให้ผู้อ่ำนเห็นภำพ หรือเกิดควำมเข้ำใจอย่ำงแจ่มแจ้ง
2. ภำษำที่ใช้สละสลวย ท ำให้ผู้อ่ำนเห็นภำพ โดยกำรใช้ภำพพจน์ชนิดต่ำง ๆ
ประกอบกำรเขียน
ตัวอย่างอุปมาโวหาร
“อันสติปัญญำขงเบ้งรู้ตำรำเรียกลมในอำกำศหำผู้ใดเสมอมิได้ อุปมำดังจะนับดำวใน
ท้องฟ้ำ และหยั่งพระมหำสมุทร อันลึกได้ ครั้นเอำขงเบ้งไว้สืบไปภำยหน้ำเมืองกังตั๋งก็จะเป็น
อันตรำย จำจะคิดอ่ำนฆ่ำเสีย เมืองเรำจึงจะมีควำมสุขสืบไป”
(เจ้ำพระยำพระคลังหน : สำมก๊ก)
4. เทศนาโวหาร หมายถึง การเขียนอธิบาย ชี้แจงให้ผู้อ่านเข้าใจ ชี้ให้เห็นประโยชน์หรือโทษของเรื่องที่กล่าวถึง เป็นการชักจูงให้ผู้อื่นคล้อยตาม เห็นด้วยหรือเพื่อแนะนาสั่งสอนปลุกใจหรือเพื่อให้ข้อคิดคติเตือนใจผู้อ่าน
หลักการเขียนเทศนาโวหาร
1. เรื่องที่เขียนมีควำมชัดเจน สำมำรถอธิบำย และหำเหตุผลมำประกอบกำร
เขียนได้
2. วิธีเขียนชัดเจน รู้จักใช้เหตุผล ใช้หลักฐำนอ้ำงอิงประกอบเพื่อให้เนื้อหำมี
น ้ำหนักน่ำเชื่อถือ และมีกำรจัดลำดับกำรแสดงเหตุผลอย่ำงเหมำะสม
3. ใช้ภำษำเข้ำใจง่ำย กระชับ มีน ้ำหนัก แจ่มแจ้ง ชัดเจน และเร้ำควำมสนใจ
ของผู้อ่ำน
ตัวอย่างเทศนาโวหาร
“โลกหรือสิ่งทั้งปวงมีลักษณะไม่เที่ยง เป็นทุกข์และไม่เป็นตัวตนของโลก มันจะเล่นงำน
บุคคลผู้ที่เข้ำไปยึดถือด้วยตัณหำ อุปทำนนับแต่วำระแรก คือตั้งแต่เมื่ออยำกได้อยำกเป็น กำลัง
ได้กำลังเป็น และได้แล้วเป็นแล้ว ตลอดเวลำแห่งกำลทั้งสำม ใครเข้ำไปยึดถืออย่ำงหลับหูหลับตำ
แล้วก็จะมีควำมทุกข์อย่ำงเต็มที่ เหมือนอย่ำงที่เรำเห็นปุถุชนคนเขลำทั้งหลำยเป็น ๆ กันอยู่
โดยทั่วไปในโลก”
(พุทธทำส : คู่มือมนุษย์)
5. สาธกโวหาร หมายถึง การหยิบตัวอย่างมาอ้างอิงประกอบการอธิบายเพื่อ สนับสนุนข้อความที่เขียนไว้ให้ผู้อ่านเข้าใจ และเกิดความเชื่อถือ
หลักการเขียนสาธกโวหาร
1. เรื่องที่ยกมำเป็นตัวอย่ำงประกอบเนื้อหำที่จะเขียนจะต้องมีควำมเหมำะสมชัดเจน
และสัมพันธ์กับเนื้อหำ เขียนให้กลมกลืนกันเพื่อทำให้เนื้อหำเด่นชัดยิ่งขึ้น
2. ภำษำที่ใช้ต้องชัดเจนและเข้ำใจง่ำย
ตัวอย่างสาธกโวหาร
“อำนำจควำมสัตย์เป็นอำนำจที่ศักดิ์สิทธิ์ ไม่เพียงแต่จับหัวใจคน แม้แต่สัตว์ก็ยังมี
ควำมรู้สึกในควำมสัตย์ซื่อ เมื่อกวนอูตำยแล้ว ม้ำของกวนอูก็ไม่ยอมกินหญ้ำกินน ้ำ และตำม
เจ้ำของไปในไม่ช้ำ ไม่ยอมให้หลังของมันสัมผัสกับผู้อื่นนอกจำกนำยของมัน”
(ประภัสสร เสวิกุล : ลอดลำยมังกร)
ที่มา
http://courseware.npru.ac.th/admin/files/20200817092139_614cd0d2385f4deebd37f84754fb6bb8.pdf
https://np.thai.ac/client-upload/np/uploads/files/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%82%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3(1).pdf